วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

กระเป๋าจากหลอด

โครงงานอาชีพ
เรื่อง กระเป๋าจากหลอด


อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ CAI ช่วยสอน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 5/4

ภาคเรียนที่2ปีการศึกษา2557



โครงงานอาชีพ
เรื่อง กระเป๋าจากหลอด

คณะผู้จัดทำ
                       นาย กฤษณะ ทุมยา ม.5/4 เลขที่ 10
                       นางสาว ดวงจิตร เพ็งจันทร์ เลขที่ 17
                                
อาจารย์ที่ปรึกษา
อาจารย์ อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ CAI ช่วยสอน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 5/4

ภาคเรียนที่2ปีการศึกษา2557


บทคัดย่อ
               ในปัจจุบันจัดการตัดหลอดตามรูป เสร็จแล้วเอาออกมาสอดให้เป็นวง
ทำไว้เยอะ ๆ เหมือนกล่องนมแล้วเอาไปสานเป็น จัดการตัดหลอดตามรูป เสร็จแล้วเอาออกมาสอดให้เป็นวง
ทำไว้เยอะ ๆ เหมือนกล่องนมแล้วเอาไปสานเป็น กระเป๋าหลอด


กิตติกรรมประกาศ
               โครงงานนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาประวัติและวิธีการทำกระเป๋าจากหลอดที่ถูกวิธีและสวยงามตามต้องการและที่สำคัญคือแปลกใหม่ไปจากเดิม  กระเป๋าจากหลอดเป็นการจักสานที่ขึ้นชื่อของคนไทย ซึ่งกระเป๋าจากหลอดก็เป็นการจักสานชนิดหนึ่งถือเป็นการช่วยอนุรักษ์สูตรการจักสานไทยและวัฒนธรรมไทยไปในตัว
              และการจัดทำโครงงานครั้งนี้สำเร็จไปได้ดัวยดีเนื่องจากได้คำปรึกษาจาก อาจารย์ อนุสรณ์ ฤกษ์บางพลัด กลุ่มของพวกเราจึงขอขอบคุณไว้ ณ ที่นี้
















สารบัญ      
 เรื่อง                                                                                          หน้า
  • บทที่1 บทนำ    
  •                      - ที่มาและความสำคัญ   /จุดมุ่งหมายของโครงงาน/สมมติฐาน /ขอบเขตการศึกษา                        6
  •  บทที่2 เอกสารที่
  •                      -เอกสารที่เกี่ยวข้อง /หลอดกาแฟ/แม็กเย็บกระดาษ/ลูกแม็ก/กรรไกร                                             7-12                                    
  • บทที่3 วัสดุอุปกรณ์และขั้นตอนวิธีดำเนินงาน                                          
  •                     -วัสดุอุปกรณ์  /ขั้นตอนวิธีการ                                                                                   13-15
  • บทที่4 ผลการเรียนรู้  
  •                 -วัสดุ/อุปกรณ์  /วิธีการ                                                                                                                16
  • บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผลงาน      
  •                     -สรุป/อภิปราย/ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน                                                                               16-17
  • ภาคผนวก                                                                                                                                                                  18-19
  •  อ้างอิง                                                                                                                                                                              20











บทที่1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
กระเป๋าจากหลอดเป็นการจักสานของไทยชนิดหนึ่งที่ เป็นสูตรประยุกต์โดยยืนพื้นฐานสูตรเดิมมีการทำสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์นักโบราณคดีได้พบหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับการทำเครื่องจักสานในยุคหินใหม่ที่บริเวณถ้ำแห่งหนึ่งในเขตอำเภอศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ซึ่งทำด้วยไม้ไผ่เป็นลายขัดสองเส้นประมาณว่ามีอายุราว 4,000ปีมาแล้ว
                   กระเป๋าจากหลอดสามารถประยุกต์  ได้หลายแบบ เช่น
กระเป๋าที่ทำจากไม้ใผ่เรา   กระเป๋าที่ทำมาจากหลอดกาแฟ  กระเป๋าที่ทำมาจากกล่องนม  กระเป๋ษที่ทำมาจากชองกาแฟที่กินหมดแล้ว ซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้ล้วนแล้วหาได้ง่ายในท้องถิ่นของเราด้วย
การทำการทำกระเป๋าเป็นการอนุรักษ์และเป็นการนำวิธีการกระเป๋าที่มีอยู่แล้วมาสร้างสรรค์ให้แปลกใหม่จากเดิมให้คนรุ่นหลังสืบทอดกันต่อไป
จุดมุ่งหมายของโครงงาน
1.            เพื่ออนุรักษ์การจักสานไทย
2.            เพื่อฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม
3.            เป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียน
4.            เพื่อฝึกการทำกระเป๋าจากหลอด
5.            เพื่อศึกษาประวัติและวิธีกระเป๋าจากหลอดไทย
สมมุติฐาน
หวังว่าจะได้รับประโยชน์จากการทำโครงงาน เพื่อนำไปประกอบอาชีพในอนาคต และสามารถประยุกต์การทำกระเป๋าจากหลอด ที่ใช้หลอดจากการเหลือใช้
 ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาจากเว็บไซต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกี่ยวกับการทำกระเป๋าจากหลอด
บทที่2
                                                      เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
หลอด

ประวัติความเป็นมาของหลอด
สมัยก่อนมนุษย์กับธรรมชาติมีความเป็นอยู่ใกล้ชิดกันมาก มนุษย์รู้จักการดูแลรักษาธรรมชาติ ธรรมชาติก็ให้ประโยชน์แก่มนุษย์ มีความเป็นอยู่แบบถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน บรรดานักประดิษฐ์ที่มีชื่อเสียงหลายคน เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์สิ่งของต่างๆมาจากการสังเกตธรรมชาติ สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบตัว มีการลองผิดลองถูกนับครั้งไม่ถ้วน จนได้ข้าวของเครื่องใช้ที่อำนวยความสะดวกแก่มนุษย์อย่างในปัจจุบัน ตัวอย่างสิ่งของที่ผู้เขียนจะนำเสนอให้ผู้อ่านได้อ่านกันในวันนี้ เป็นของใกล้ตัวมีขนาดเล็กมากจนอาจทำให้ทุกคนมองข้ามไม่เคยสงสัยว่าสิ่งนี้มีที่มาที่ไปอย่างไร ใครเป็นคนประดิษฐ์คิดค้นมันขึ้นมาคือ  “หลอดดูดน้ำนั้นเอง
หลอดดูดน้ำที่เราใช้กันทั่วไปในปัจจุบันมีวิวัฒนาการมาจากสมัยก่อน ตอนที่ยังไม่มีหลอดดูดน้ำมนุษย์จะใช้หญ้า ryegrass ซึ่งมีลักษณะเป็นปล้องกลวงๆยาวๆคล้ายก้านมะละกอในบ้านเราดูดน้ำกัน นาย มาร์วิน สโตน ใช้การสังเกตอุปกรณ์ดูดน้ำอย่างหญ้ามาเป็นแรงบันดาลใจประดิษฐ์หลอดดูดน้ำ โดยการพันแถบกระดาษเล็กๆรอบแท่งดินสอแล้วทากาวให้คงรูป จากนั้นจึงเคลือบไขพาราฟินจนกระดาษมะนิลาปิดรอบ เพราะการใช้กระดาษอย่างเดียวนั้นจะไม่ค่อยคงทนเมื่อถูกน้ำแล้วจะเปื่อยง่าย ต่อจากนั้นจึงมีการปรับเปลี่ยนให้มีโครงสร้างที่เหมาะสมกับการใช้งานจนได้เป็นหลอดดูดน้ำอย่างในปัจจุบัน หลอดดูดน้ำเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 1888 โดยหลอดดูดน้ำรุ่นแรกที่ผลิตออกมา มีความยาว 8.5 นิ้ว แต่มีขนาดรูเล็กมากเพื่อป้องกันเมล็ดผลไม้ในน้ำผลไม้ต่างๆ จำพวกน้ำส้ม น้ำมะนาว เล็ดรอดเข้าไปในลำคอได้ จากนั้นก็มีการพัฒนาหลอดดูดน้ำให้มีรูปลักษณ์สวยงาม ทันสมัยมากขึ้น อย่างเช่นแต่ก่อนหลอดดูดน้ำที่เราใช้กันตอนเด็กๆมีขนาดประมาณ 8 นิ้ว ขนาดรูหลอดกว้างประมาณ 7 มิลลิเมตร แต่ปัจจุบันหลอดมีขนาดอ้วนขึ้นเพื่อความสะดวกในการบริโภคเครื่องดื่มจำพวกชาไข่มุกหรือหลอดมีขนาดยาวขึ้นตามขนาดของน้ำอัดลมที่มีขนาดของขวดสูงขึ้นเป็นต้น ดังนั้นแม้ว่าหลอดจะมีวิวัฒนาการทันสมัยเพียงใด เราจะไม่มีวันมีข้าวของเครื่องใช้อำนวยความสะดวกใช้อย่างทุกวันนี้เลยถ้าไม่มีเหล่ามนุษย์ผู้ช่างสังเกต คอยมองสังเกตธรรมชาติรอบๆตัวแล้วเกิดความคิดสร้างสรรค์สิ่งดีๆพัฒนาอย่างมีขั้นตอนดังเช่นทุกวันนี้
แม็ก

ประวัติความเป็นมาของแม็ก
มีบันทึกว่า   *ที่เย็บกระดาษหรือ  (Stapler) ตัวแรกของโลกถือกำเนิด ในคริสต์ศตวรรษ 17

หรือคริสต์ศตวรรษที่ 18 ณ ประเทศ ฝรั่งเศส เป็นเครื่องกลไกที่ประดิษฐ์ด้วยมือล้วนๆ โดยมี
กษัตริย์หลุยส์ที่ 15 เป็นต้นคิดหรือช่วยออกความคิดเครื่องเย็บกระดาษรุ่นแรกๆ ประดิษฐ์ใช้กันหลายตัว    แต่ละตัวจะสลักตราประจำราชสำนักเอาไว้

*พอเข้าคริสต์ศตวรรษที่ 19 การใช้กระดาษเพิ่มขึ้น ทำให้มีความต้องการใช้ที่เย็บกระดาษ
เพิ่มขึ้นด้วย  มีบันทึกว่า  *ซามูเอล สโลคัม* จดสิทธิบัตรที่เย็บกระดาษครั้งแรกใน ค.ศ.1841 
แต่ที่จริงเครื่องนั้น ใช้วิธีตอกหมุดทะลุกระดาษมากกว่า จะเป็นการ เย็บลวดสองขาอย่างที่เรารู้จัก

*เครื่องเย็บกระดาษพัฒนามาเรื่อยๆ แต่มักจะใส่ลวดเย็บได้ทีละ 1 ตัวเท่านั้น

จนเข้ากลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 * จอห์น มันฟอร์ด* ชาว อังกฤษ จึงประดิษฐ์เครื่องเย็บกระดาษหน้าตาคล้ายรุ่นปัจจุบัน ที่เราคุ้นเคยกัน  ตอนนั้นเขาทำขึ้นมาขาย ให้นายจ้าง เพื่อแลกเงิน ก้อนเล็กๆ เลี้ยงชีวิต ไม่ได้กระตือรือร้นจะสร้างชื่อเสียง     

** แต่เป็นการดี ที่ประวัติศาสตร์ยังจดจำเขาได้  เราเลยได้รู้จักเขาไปด้วย**
วิธีการใช้หลอด
ที่เย็บกระดาษ (stapler) บ้านเรา หลายคนเรียกติดปากว่า  แม็กซ์  จนกลายเป็นชื่อของวัสดุชนิดนี้ คงจะมาจากยี่ห้อ MAX ของบริษัทMAX Co. Ltd. Made in Japan  ปัจจุบันมีที่เย็บกระดาษมากมายหลายยี่ห้อในท้องตลาด  รูปแบบและขนาดแตกต่างกัน การดีไซน์แปลกตา พร้อมมีสีสันสวยงามน่าใช้  และขนาดของที่เย็บกระดาษที่ใช้ในสำนักงานทุกวันนี้ ก็จะเป็นที่เย็บกระดาษที่ใช้ลวดเย็บกระดาษ (staples) เบอร์ 10เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเบอร์นี้ทุกยี่ห้อใช้ร่วมกันได้ เย็บกระดาษประมาณ 2-20 แผ่น  อีกยี่ห้อหนึ่งที่ผู้เขียนใช้ในสำนักงานคือ bostitch จะแตกต่างกับยี่ห้อแรกที่กล่าวถึง ใช้เย็บกระดาษที่มีจำนวนหน้ามากขึ้น ลวดเย็บกระดาษจะแตกต่างจากลวดเย็บของยี่ห้ออื่นๆ คือ จะมีลักษณะโค้งตรงกลางไม่เรียบเหมือนกับลวดเย็บกระดาษ








ลูกแม็ก


โครงสร้างของลูกแม็ก
·  โครงสร้างผลิตจากเหล็กกล้าหุ้มด้วยพลาสติก ABS
·  ที่จับออกแบบพิเศษ เหมาะกับสรีระของการวางมือ ทำให้จับถนัด กระชับมือขณะใช้งาน
·  มีที่กั้นล็อคระดับความลึกในการเย็บและสเกลตั้งระยะ
 ระบบใส่ลวดที่สะดวก โดยใส่จากด้านหลังเครื่อง พร้อมช่องเก็บลวดเย็บสำรอง
 ปุ่มรองรับการเย็บ 2 ตำแหน่ง สามารถหมุนปรับตำแหน่งการเย็บได้
 - สำหรับการเย็บที่ความหนา 6-15 มม.
 - สำหรับการเย็บที่ความหนา 17-24 มม.
 สามารถใช้งานกับลวดเย็บได้ถึง 9 ขนาด
  ใช้กับลวดเย็บเบอร์ : 23/6-23/24, 24/6-24/24 และ 12/6-12/24
  บรรจุลวดเย็บได้ : 2 แถว (50-100 เข็ม)
  เย็บกระดาษได้หนา : 2-210 แผ่น (80 แกรม)6-24 มม.
 - ลวดเย็บเบอร์ 23/6,24/6 และ 12/6 เย็บได้หนา 2-30 แผ่น(80 แกรม) 6 มม.
  - ลวดเย็บเบอร์ 23/8,24/8 และ 12/8 เย็บได้หนา 30-50 แผ่น(80 แกรม)8 มม.
  - ลวดเย็บเบอร์ 23/10,24/10 และ 12/10 เย็บได้หนา 50-70 แผ่น(80 แกรม)10 มม.
 - ลวดเย็บเบอร์ 23/13,24/13 และ 12/13 เย็บได้หนา 70-100 แผ่น(80 แกรม)13 มม.
 - ลวดเย็บเบอร์ 23/15,24/15 และ 12/15 เย็บได้หนา 100-120 แผ่น(80 แกรม)15 มม.
- ลวดเย็บเบอร์ 23/17,24/17 และ 12/17 เย็บได้หนา 120-140 แผ่น(80 แกรม)17 มม.
- ลวดเย็บเบอร์ 23/20,24/20 และ 12/20 เย็บได้หนา 140-170 แผ่น(80 แกรม)20 มม.
 - ลวดเย็บเบอร์ 23/23,24/23 และ 12/23 เย็บได้หนา 170-200 แผ่น(80 แกรม)2
 - ลวดเย็บเบอร์ 23/24,24/24 และ 12/24 เย็บได้หนา 190-210 แผ่น(80 แกรม)24 มม.
  ระยะในการเย็บจากขอบกระดาษ : 7 ซม.
 ขนาดสินค้า (กว้าง x ยาว x สูง): 8 × 28 x 25 ซม./ เครื่อง
  ขนาดสินค้ารวมกล่อง (กว้าง x ยาว x สูง): 9 × 30 x 19 ซม./ กล่อง
  จำนวน 1 เครื่อง



กรรไกร


ประวัติ
กรรไกรนั้นต่างจากมีด เพราะมีใบมีด 2 อัน ประกบกันโดยมีจุดหมุนร่วมกัน กรรไกรส่วนใหญ่จะไม่มีความคมมากนัก แต่อาศัยแรงฉีกระหว่างใบมีดสองด้าน กรรไกรของเด็กนั้นจะมีความคมน้อยมาก และมักมีพลาสติกหุ้มเอาไว้ 

กรรไกรเนี่ย ว่ากันว่าถูกคิดค้นขึ้นเมื่อ 1500 ปีก่อนคริสตกาลในยุคอียิปต์โบราณ มีรูปร่างยาวโดยมีจุดเชื่อมที่ด้านท้าย ส่วนกรรไกรด้ามตัดไขว้แบบปัจจุบันถูกคิดค้นในราว พ.ศ. 643 ในตอนนั้น (ยุคอียิปต์) มีแค่ตัวเชื่อม กับหู โครงร่างยังดูเลือนรางมาก ทำเป็นรูปตัวยู ซึ่งกรรไกรเกิดขึ้นเนื่องจากเรื่องของการค้าขายเพราะต้องการของคมๆ ไว้ใกล้ตัว เวลาจะบรรจุของลงหีบห่อ หรือใช้ตัดของได้สะดวกกรรไกรได้ดำรงอยู่มานานมาก ในตอนแรก รูปทรงอาจจะใช้ยาก แต่ต่อมาชาวโรมันก็เอาปรับแก้ไขให้รายละเอียดมีมากขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 100ทำให้กรรไกรใช้ได้ง่ายกว่าเดิมมาก

ในตอนแรก กรรไกรนั้นไม่มีรู (แล้วใช้ไงอะ) เป็นแบบราบเรียบแข็งๆ ไปเลย แต่ต่อมา Robert Hinchliffe ชาวอังกฤษได้คิดค้นการเจาะรูบนกรรไกรขึ้น (ขอบคุณคุณโรเบิร์ต) ทำให้กรรไกรใช้ง่ายขึ้นมาก และต่อมาในฟินแลนด์ ก็มีการนำเหล็กมาใช้ทำกรรไกรทำให้กรรไกรมีหลากหลายแบบมากขึ้น

ในภาษาไทย โดยมากเรียก "กรรไกร" แต่บางถิ่นเรียก "ตะไกร", "ไกร", หรือ "มีดตัด" สำหรับกรรไกรโดยทั่วไป ในภาษาอังกฤษเรียกว่า scissors แต่ในอุตสาหกรรม จะเรียกกรรไกรที่มีความยาวมากกว่า 15 เซนติเมตร ว่าshears
กรรไกร (อังกฤษ: scissors) เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับตัดวัสดุบาง ๆ โดยใช้แรงกดเล็กน้อย โดยใช้ตัดวัสดุเช่น กระดาษ กระดาษแข็งแผ่นโลหะบาง พลาสติกบาง อาหารบางอย่าง ผ้า เชือก และสายไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เพื่อตัดผมก็ได้ ส่วนกรรไกรขนาดใหญ่อาจใช้ตัดใบไม้และกิ่งไม้ ซึ่งมีความแข็งแรงเป็นพิเศษ
กรรไกรนั้นต่างจากมีด เพราะมีใบมีด 2 อัน ประกบกันโดยมีจุดหมุนร่วมกัน กรรไกรส่วนใหญ่จะไม่มีความคมมากนัก แต่อาศัยแรงฉีกระหว่างใบมีดสองด้าน กรรไกรของเด็กนั้นจะมีความคมน้อยมาก และมักมีพลาสติกหุ้มเอาไว้
ในภาษาไทย เรียก "กรรไกร", "กรรไตร" หรือ "ตะไกร" ส่วนในภาษาอังกฤษ โดยทั่วไปเรียกว่า "scissors" แต่ในอุตสาหกรรม เรียกกรรไกรที่มีความยาวมากกว่า 15 เซนติเมตร ว่า "shears"[1]
ในทางกลศาสตร์ ถือว่ากรรไกรเป็นคานคู่ชั้น 1 (First-Class Lever) ซึ่งมีหมุดกลางทำหน้าที่เป็นจุดหมุน ส่วนการตัดวัสดุหนาหรือแข็งนั้น จะให้วัสดุอยู่ใกล้จุดหมุน เพื่อเพิ่มแรงกดให้มากที่สุด ตัวอย่างเช่นหากแรงที่ใช้ (นั่นคือ มือ) ห่างจากจุดหมุนเป็นสองเท่าของตำแหน่งที่ตัด (นั่นคือ ตำแหน่งกระดาษ) แรงที่กดบนขากรรไกรก็จะเป็นสองเท่าด้วย
กรรไกรพิเศษ เช่น กรรไกรตัดเหล็ก (bolt cutters) สำหรับงานกู้ภัย จะมีปากสั้น และด้ามยาว เพื่อให้วัสดุที่ตัดอยู่ใกล้จุดหมุนมากที่สุดนั่นเอง กรรไกรตัดเหล็กเส้นก่อสร้าง [2] (bar cutters) สำหรับงานก่อสร้าง โดยเฉพาะไซต์งานที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ ทำงานโดยใช้แรงกล มีด้ามยาวสำหรับโยกหมุนเฟืองเพื่อดันใบมีดเข้าหากันเพื่อตัดเหล็ก เหมาะกับการใช้ตัดชิ้นงานหยาบ ไม่สามารถใช้กับงานที่ละเอียดได้ นอกจากนี้ยังมีกรรไกรตัดเหล็กที่ใช้สำหรับตัดเหล็กแผ่น เหล็กแบน เหล็กกลม (shearing machines) ซึ่งใช้กลวิธีการทำงานคือ โยกด้ามยาวที่ติดกับตัวขับที่เป็นฟันเหล็ก และเฟืองซึ่งทำจากเหล็กขึ้นรูปร้อน โดยตัวขับจะเป็นตัวส่งกำลังไปยังตัวเลื่อน เพื่อดันใบมีดตัวบนเข้ามาใบมีดตัวล่าง และมีสปริงค้ำคันโยก ซึ่งจะช่วยป้องกันคันมือโยกไม่ให้หล่นลงมา และยังเป็นตัวทำให้เกิดความสมดุลของน้ำหนักของตัวคันมือโยกอีกด้วย


บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และขั้นตอนการดำเนินงาน
         วัสดุอุปกรณ์
  1. หลอด
  2. แม็กเย็บกระดาษ
  3. ลูกแม็ก
  4. กรรไกร
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
1.            ตัดหลอด

2. รีดหลอด

3.แม็กหลอด


4.สร้างฐานกระเป๋า

5.ขึ้นโครงกระเป๋า

6.ได้โครงกระเป๋า


7.เสร็จสมบรูณ์














บทที่ 4
ผลการเรียนรู้
             จากการศึกษาค้นคว้าและฝึกทำการทำกระเป๋าจากหลอดผลที่ได้คือพวกเราได้เรียนรู้วิธีการทำกระเป๋าจากหลอดที่ถูกวิธี และได้กระเป๋าจากหลอดที่สวยงามตามต้องการและแปลกใหม่จากเดิมด้วยวิธีข้างล่างนี้
บทที่ 5
สรุปผลและอภิปรายผลงาน
สรุป
   การทำโครงงานกระเป๋าจากหลอดครั้งนี้ทำให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันสืบค้นหาข้อมูลและปฏิบัติเป็นรูปเล่มโครงงานและทำเป็นของใช้เพื่อให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ และนอกจากนี้ยังเป็นการศึกษาวิธีการทำ และลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง และทำให้สมาชิกในกลุ่มเกิดความสามัคคีกันมากยิ่งขึ้นด้วย

    
  อภิปราย
1.            สามารถนำเอาโครงงานมาเป็นแบบอย่างในการศึกษาข้อมูลในการทำครั้งต่อไป
2.            ใช้ประโยชน์จากรูปเล่มโครงงานไปศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม
3.            นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
4.            ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้กับตนเองและครอบครัว
5.            สามารถนำไปประกอบอาชีพได้

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
           ในการทำโครงงานเรื่องกระเป๋าจากหลอดในครั้งนี้ ทำให้ได้รู้และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาประยุกต์ใช้และได้รับประโยชน์ ดังนี้
1.            รู้และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี
2.            ได้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆและนำมาจัดทำเป็นรูปเล่มโครงงาน เพื่อการศึกษาต่อไป
3.            นำไปประกอบการเรียนรู้ในวิชาที่เกี่ยวข้อง
4.   ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการทำกระเป๋าจากหลอด
5.    สามารถนำความรู้ในการศึกษาการกระเป๋าจากหลอดไปใช้ในการดำรงชีวิต
                                                  

                                 ภาคผนวก
























อ้างอิง

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%81%E0%B8%A3